DSP
ตัวกลางระหว่างภาษาคอมพิวเตอร์กับระบบที่เราจะควบคุมสั่งการ หรือบริหารจัดการ หรือรับข้อมูลมาวิเคราะห์แสดงผล ก็คือ สัญญาณไฟฟ้า บนโลกใบนี้ทุกสิ่งทุกอย่างสื่อสารกันโดยผ่านสัญญาณไฟฟ้า แม้แต่คำพูดของมนุษย์ที่เราติดต่อสื่อสารกันก็เป็นสัญญาณไฟฟ้าชนิดหนึ่ง
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
เมื่อโปรแกรมเมอร์ต้องมาซ่อมรถเต่า(Beetle),(Expert My Bug)
แมลงปีกแข็งของผมเอง
หลังจากว่าด้วยเรื่องภาษาคอมพิวเตอร์กันแล้ว เราจะเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งการ หรือเก็บเกี่ยวอะไรทั้งหลายแหล่เราก็ต้องมารู้จักตัวมันกันเสียก่อน ผมมีแมลงปีกแข็งตัวสีส้มอยู่คันหนึ่ง ตัวเดิม เครื่องเดิม ระบบเดิมทุกอย่าง ทีนี้ถ้าผมใฝ่ฝันอยากจะเนรมิตแมลงปีกแข็งของผมซึ่งตอนนี้มันคานเป็นตัวอยู่ ให้บินได้ กลายเป็นเต่าบิน ผมก็ต้องมาทำความรู้จักให้อย่างลึกซึ้ง รู้ไส้รู้พุง จับมาล้างนอกล้างในให้ได้ ทีนี้ก็ต้องมาดูกันว่าส่วนไหนบ้างที่เราจะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของเราไปควบคุมสั่งการกันได้บ้าง
1. เครื่องยนต์
ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ เท่าที่ความรู้จะมี
1.1 ระบบหล่อลื่น
รถที่ใช้เครื่องยนต์แบบเก่าระบบหล่อลื่นมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะแมลงปีกแข็งของผมเครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยอากาศ ถ้าไม่ใส่ใจดูแลระบบหล่อลื่นจะทำให้เครื่องพังได้ หน้าที่หลักของระบบหล่อลื่นคือป้องกันความฝืดระหว่างหน้าสัมผัสของชิ้นส่วนเครื่องยนต์ที่เคลื่อนที่ไปมาระหว่างกันและกัน ทำได้โดยการส่งให้น้ำมันหล่อลื่นไหลเข้าไปอยู่อย่างเพียงพอระหว่างผิวสัมผัส น้ำมันหล่อลื่นนี้จะทำหน้าที่หล่อเย็นชิ้นส่วนประกอบของเครื่องยนต์ซึ่งไม่สามารถแพร่กระจายความร้อนโดยตรงไปยังระบบหล่อเย็นและกาศภายนอกด้วยพร้อมกันนั้นน้ำมันหล่อลื่นก็ยังทำหน้าที่กันรั่ว (Seal) ระหว่างชิ้นส่วนที่เลื่อนสัมผัสกันด้วยคือระหว่างลูกสูบกับผนังกระบอกสูบ และยังทำความสะอาดภายในเครื่องยนต์โดยการชำระล้างสิ่งสกปรกตกค้างและสิ่งที่เหลือจากการเผาไหม้ในห้องสูบ สารคุ(ณภาพที่เติมลงไปในน้ำมันหล่อลื่นยังเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อน ฟิล์มน้ำมันหล่อลื่นยังดูดซับผลจกาการสั่นกระแทกระหว่างชิ้นส่วนอีกด้วย น้ำมันเครื่อง(Engine oil) จึงได้นำมาใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ในการหล่อลื่น กันรั่ว ทำความสะอาด ป้องกันการกัดกร่อนและลดเสียงดังในเครื่องยนต์
1.2 ระบบหล่อเย็น
1.3 เสื้อสูบ กระบอกสูบและห้องเพลาข้อเหวี่ยง
1.4 ฝาสูบ ท่อร่วมไอเสียและท่อร่วมไอดี
1.5 ลูกสูบและแหวนลูกสูบ
1.6 ก้านสูบ เพลาข้อเหวี่ยงและแบริ่ง
1.7 วาล์วเครื่องยนต์และการขับบังคับลิ้น
1.8 ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ
1.9 เครื่องบรรจุสูบเพิ่มหรือซูเปอร์ชาร์จ
2. ระบบเกียร์
3. ระบบเบรค
4. ระบบช่วงล่าง
5. ระบบกันขโมย ภายใน บันเทิง
หลังจากว่าด้วยเรื่องภาษาคอมพิวเตอร์กันแล้ว เราจะเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งการ หรือเก็บเกี่ยวอะไรทั้งหลายแหล่เราก็ต้องมารู้จักตัวมันกันเสียก่อน ผมมีแมลงปีกแข็งตัวสีส้มอยู่คันหนึ่ง ตัวเดิม เครื่องเดิม ระบบเดิมทุกอย่าง ทีนี้ถ้าผมใฝ่ฝันอยากจะเนรมิตแมลงปีกแข็งของผมซึ่งตอนนี้มันคานเป็นตัวอยู่ ให้บินได้ กลายเป็นเต่าบิน ผมก็ต้องมาทำความรู้จักให้อย่างลึกซึ้ง รู้ไส้รู้พุง จับมาล้างนอกล้างในให้ได้ ทีนี้ก็ต้องมาดูกันว่าส่วนไหนบ้างที่เราจะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของเราไปควบคุมสั่งการกันได้บ้าง
1. เครื่องยนต์
ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ เท่าที่ความรู้จะมี
1.1 ระบบหล่อลื่น
รถที่ใช้เครื่องยนต์แบบเก่าระบบหล่อลื่นมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะแมลงปีกแข็งของผมเครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยอากาศ ถ้าไม่ใส่ใจดูแลระบบหล่อลื่นจะทำให้เครื่องพังได้ หน้าที่หลักของระบบหล่อลื่นคือป้องกันความฝืดระหว่างหน้าสัมผัสของชิ้นส่วนเครื่องยนต์ที่เคลื่อนที่ไปมาระหว่างกันและกัน ทำได้โดยการส่งให้น้ำมันหล่อลื่นไหลเข้าไปอยู่อย่างเพียงพอระหว่างผิวสัมผัส น้ำมันหล่อลื่นนี้จะทำหน้าที่หล่อเย็นชิ้นส่วนประกอบของเครื่องยนต์ซึ่งไม่สามารถแพร่กระจายความร้อนโดยตรงไปยังระบบหล่อเย็นและกาศภายนอกด้วยพร้อมกันนั้นน้ำมันหล่อลื่นก็ยังทำหน้าที่กันรั่ว (Seal) ระหว่างชิ้นส่วนที่เลื่อนสัมผัสกันด้วยคือระหว่างลูกสูบกับผนังกระบอกสูบ และยังทำความสะอาดภายในเครื่องยนต์โดยการชำระล้างสิ่งสกปรกตกค้างและสิ่งที่เหลือจากการเผาไหม้ในห้องสูบ สารคุ(ณภาพที่เติมลงไปในน้ำมันหล่อลื่นยังเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อน ฟิล์มน้ำมันหล่อลื่นยังดูดซับผลจกาการสั่นกระแทกระหว่างชิ้นส่วนอีกด้วย น้ำมันเครื่อง(Engine oil) จึงได้นำมาใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ในการหล่อลื่น กันรั่ว ทำความสะอาด ป้องกันการกัดกร่อนและลดเสียงดังในเครื่องยนต์
1.2 ระบบหล่อเย็น
1.3 เสื้อสูบ กระบอกสูบและห้องเพลาข้อเหวี่ยง
1.4 ฝาสูบ ท่อร่วมไอเสียและท่อร่วมไอดี
1.5 ลูกสูบและแหวนลูกสูบ
1.6 ก้านสูบ เพลาข้อเหวี่ยงและแบริ่ง
1.7 วาล์วเครื่องยนต์และการขับบังคับลิ้น
1.8 ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ
1.9 เครื่องบรรจุสูบเพิ่มหรือซูเปอร์ชาร์จ
2. ระบบเกียร์
3. ระบบเบรค
4. ระบบช่วงล่าง
5. ระบบกันขโมย ภายใน บันเทิง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)